วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2555

คำศัพท์ภาษาซี


คำศัพท์ภาษาซี

1.File
ที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และในภาษา C นั้น ไฟล์ก็จะมีความหมายรวมไปถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย

2.Logical Interfaces
เป็นตัวกลางในการติดต่อกับไฟล์

3.Text files
เป็นไฟล์ตัวอักษร เพราะโครงสร้างในการเก็บข้อมูลที่ค่าตัวเลขจำนวนเต็ม จุดทศนิยม หรือในลักษณะที่เป็นโครงสร้าง ซึ่งการเก็บ
ข้อมูลจะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองตามรหัส ASCII

4.Binary Files
เป็นไฟล์ที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของค่าต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลที่ไฟล์ประเภทนี้จัดเก็บ จะสามารถเป็นทั้งตัวเลขจำนวนเต็ม ตัวเลขทศนิยม
ตัวอักษร อาร์เรย์ และข้อมูลแบบโครงสร้าง โดยการจัดเก็บนั้นจะเก็บเหล่านั้นลงไปตรง ๆ เลย เช่น 16706 ก็จะเป็นค่าที่เหมือนอ่า
กลับมาเป็นค่าเดิม แต่ Text Files จะเก็บเป็นตัวอักษร 1 6 7 0 6

5.File Table
ส่วนของหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ ไฟล์ เช่น ชื่อไฟล์ เป็นตัวชี้ตำแหน่งของไฟล์ เป็นต้น โดยจะมีตัวแปรที่เป็นไฟล์
พอยเตอร์อยู่ ซึ่งไฟล์พอยเตอร์ตัวนี้จะมีข้อมูลเป็นโครงสร้างชนิด FILE ซึ่งลักษณะขอ File Table

6.Fopen
ฟังก์ชันในการเปิดไฟล์ คือ ฟังก์ชัน fopen ฟังก์ชันนี้ต้องการพารามิเตอร์ 2 ตัว ตัวแรกคือชื่อไฟล์ที่ต้องการเปิด ซึ่งอาจจะรวมที่อยู่
ของไฟล์โปรแกรม และตัวที่ 2 จะเป็นโหมดในการเปิด ซึ่งจะมีโหมดการเปิดอยู่ 3 โหมด

7.Fclose
เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปิดไฟล์ ที่ปิดไว้

8.Fread
เป็นฟังก์ชันในการอ่านข้อมูลจาก Binary File

9.Fwrite
เป็นฟังก์ชันในการเขียนข้อมูลลง Binary File

10.Logical Data
ข้อมูลตรรกะ

11.Not
คำสั่งที่ใช้เปลี่ยนค่าที่เป็นเท็จ หรือกลับกันหรือเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1

12.and
ใช้เชื่อง 2 เงื่อนไข หรือมากกว่าจะเป็นผลลัพธ์จริงเมื่อเงื่อนไขทั้ง 2หรือทั้งหมดเป็นจริง และจะให้เป็นเท็จเมื่อมีอย่างน้อย1 เงื่อนไขเป็นเท็จ

13.Or
ใช้เชื่อม 2 เงื่อนไขหรือมากว่าจะให้เป็นผลลัพธ์จริงเมื่อมีอย่างน้อย1เงื่อนไขเป็นจะให้เป็นเท็จเมื่อเงื่อนไขทั้ง 2 หรือทั้งหมดเป็นเท็จ

14.if… else
เป็นคำสั่ง 2 ทางเลือกอันหนึ่งซึ่งถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่ง 1 แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะไปทำอีกคำสั่ง1

15.if
เป็นคำสั่ง 2 ทางเลือกอันหนึ่งซึ่งถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่ง 1 แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จเป็นจะกระโดดออกจากชุดคำสั่ง if

16.Nested if
เป็นคำสั่ง If… else ที่มีคำสั่ง If… else หรือคำสั่ง if ซ้อนอยู่ด้านใดอีกด้านหนึ่ง

17.Switch
เป็นคำสั่งหลายทางเลือก ซึ่งเป็นคำสั่งที่แปลงมาจากคำสั่ง Nested ifคำสั่งนี้จะมีตัวแปรหนึ่งที่ใช้หาว่าคำสั่งไหน

18.Case
เป็นส่วนหนึ่งของคำสั่ง Switch คือเป็น

19.Else – if
เป็นคำสั่งที่ใช้แทนคำสั่ง Switch นั้นจะต้องเป็นชนิดข้อมูลที่เป็นจำนวนเต็มเท่านั้น แต่ถ้าเมื่อไรที่ต้องใช้ตัวแปรที่เป็นชนิดข้อมูลทศนิยม
ก็จะไม่สามารถใช้คำสั่ง switch ได้แต่ภาษา C ก็ได้มีคำสั่งอีกคำสั่งหนึ่งที่เป็นคำสั่งหลายทางเลือกและสามารถใช้ได้กับชนิดข้อมูลทุก
ประเภทคำสั่งนั้นก็คือ else – if ซึ่งชุดคำสั่งเหมือนกับคำสั่ง if…else แต่ต่างกันตรงที่ในคำสั่ง else ใช้ต่อด้วยคำสั่ง if ได้เลย

20. { // - เริ่มต้นขอบเขต การทำงาน

21. int i = 10; // - ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

22. printf( "Value in i = %in", i ); // - พิมพ์ค่า i

23. return 0; // - จบโปรแกรมให้ค่าจบโปรแกรม 0

24. } // - สิ้นสุดขอบเขต การทำงาน 

25. printf( "Value in i = %in", i ); // - function พิมพ์ผลลัพท์

26. int i = 10; // - ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

27. long lvalue = 20; // - ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

28. float fvalue = 30.0; // - ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

29. printf( "Value in i = %in", i ); // - %i พิมพ์ตัวแปรในรูปแบบ Integer

30. printf( "Value in fvalue = %fn", fvalue ); // - %f พิมพ์ตัวแปรในรูปแบบ float

31. int i = 10; // - ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

32. long lvalue = 20; // - ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

33. float fvalue = 30.0; // - ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

34. char ch = 'A'; // - ตัวแปร character ให้ค่าอักษร 'A'

35. char data[80] = "Sawasdee"; // - ตัวแปร array character ให้ค่า ข้อความ Sawasdee

36. printf( "Value in ch = %cn", ch ); // - พิมพ์ค่าใน ch รูปแบบ charecter

37. printf( "Value in data = %sn", data ); // - พิมพ์ค่าใน data รูปแบบ string

38. int i = 10; // - ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

39. long lvalue = 20; // - ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

40. float fvalue = 30.0; // - ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

41. char ch = 'A'; // - ตัวแปร character ให้ค่าอักษร 'A'

42. char data[80] = "Sawasdee"; // - ตัวแปร array character ให้ค่า ข้อความ Sawasdee

43. printf( "Value in ch = %cn", ch ); // - พิมพ์ค่าใน ch รูปแบบ charecter

44. int i = 10; // - ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

45. long lvalue = 20; // - ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

46. float fvalue = 30.0; // - ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

47. char ch = 'A'; // - ตัวแปร character ให้ค่าอักษร 'A'

48. char data[80] = "Sawasdee"; // - ตัวแปร array character ให้ค่าข้อความ Sawasdee

49. printf( "Value in ch = %cn", ch ); // - พิมพ์ค่าใน ch รูปแบบ charecter

50. printf( "Value in data = %sn", data ); // - พิมพ์ค่าใน data รูปแบบ string
บบ string

วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Control Panel Windows XP

Control Panel Windows XP

ปัญหาหลัก ๆ ที่มีถามกันมาก สำหรับผู้ใช้งาน Windows XP ก็คือ ทำอย่างไรจึงจะสามารถใช้งานปุ่ม Grave Accent ( ` ) หรือปุ่ม ตัวหนอน ( ~ ) ในการสลับภาษา ไทย - อังกฤษ ได้ หลังจากที่ได้ทำการติดตั้ง Windows XP เรียบร้อยแล้ว มาดูขั้นตอนการตั้งค่าให้สามารถใช้ปุ่มสลับภาษากันดีกว่า
เริ่มต้นการตั้งค่า ก่อนอื่น คุณจะต้องมีแผ่นซีดีติดตั้ง Windows XP ใส่เข้าไปใน CD-ROM Drive ก่อนนะคะ เพราะจะต้องใช้ ในการเพิ่มภาษา และการกำหนดให้ใช้ปุ่ม ( ~ ) ในการสลับภาษาคะ เมื่อเปิดเครื่องเข้า Windows XP เรียบร้อยแล้ว ให้ทำการเปิด Control Panel โดยเลือกที่ Start Menu และ Control Panel
 ทำการดับเบิลคลิกที่ Regional and Language Options เพื่อตั้งค่าและเลือกภาษาของเครื่อง
คลิกที่ป้าย Languages และติกถูกที่ช่อง Install files for complex... ตามภาพข้างบนค่ะ จากนั้นกดที่ปุ่ม Apply
ระบบจะทำการ copy ข้อมูลจากแผ่นติดตั้ง Windows XP (ต้องใส่แผ่นติดตั้ง Windows XP ไว้ด้วยนะคะ)่
รอสักพักจนเสร็จ จากนั้นก็ทำการ Restart เครื่องใหม่อีกครั้ง กดที่ Yes เพื่อ Restart เครื่องใหม่ก่อน
หลังจากที่ Restart เครื่องมาแล้ว ก็เข้า Control Panel และ Regional and Language Options เหมือนขั้นตอนแรก ทำการเปลี่ยนช่อง Location และ Standard and format ให้เป็น Thailand กับ Thai ตามภาพข้างบน แล้วกดที่ปุ่ม Apply
เลือกที่ป้าย Advanced เปลี่ยนที่ช่อง Language for non-Unicode programs ให้เป็น Thai แล้วกด Apply
  คลิกที่ป้าย Languages อีกครั้ง แล้วกดเลือกที่ปุ่ม Details... ค่ะ
จะเห็นว่ามีภาษาเป็น 2 ภาษา กดเลือกที่ปุ่ม Key Settings...
กดที่ปุ่ม Change Key Sequence... เพื่อเลือกให้ใช้ปุ่ม Grave Accent ค่ะ
เลือกที่ Grave Accent ( ` ) แล้วกด OK กลับไปหน้าหลัก จากนั้นก็กด OK OK OK ไปเรื่อย ๆ เท่านี้ก็เสร็จขั้นตอนของการ ตั้งค่าให้ใช้ปุ่ม Grave Accent สำหรับเปลี่ยนสลับภาษาค่ะ

การสมัคร blogger

1. สามารถเปลี่ยนภาษาทางด้าน ขวาบน ได้หลากภาษาครับ จากนั้นคลิ๊กที่สร้างบล๊อกดังรูปครับ


2. ตั้งชื่อส่วนหัวของบล๊อก ตั้งชื่อบล๊อก จากนั้นก็ คลิ๊กดำเนิกการต่อ
ดังรูปครับ


3. เลือกแม่แบบ หรือ Theme (หน้าตาบล๊อก) จากนั้น คลิ๊ก ดำเนินการต่อ
ดังรูปครับ


4. เสร็จเรียบร้อยแล้วครับ คลิ๊ก เริ่มต้นการเขียนบล๊อก ได้ทันทีเลย
ดังรูปครับ


ง่ายมากๆ เลยใช่ไหมครับ ก่อนที่เพื่อนๆจะเริ่มเขียนบล๊อก ผมแนะนำให้เพื่อนๆศึกษาการใช้งานให้เข้าใจก่อนนะครับ เพื่อทำความเข้าใจและเริ่มต้นสร้างบล๊อกได้อย่างไม่ติดขัด

Windows 7

Control Panel

control-panel
ข้ามมาที่ฟีเจอร์คู่บุญของวินโดวส์อย่าง Control Panel กันบ้าง ช่วงหลังๆ (ถ้าจำไม่ผิดตั้งแต่ XP) ไมโครซอฟท์หันมาเรียงตัวเลือกใน Control Panel ตามหมวดหมู่ ผลที่ตามมาคือ "หาอะไรไม่ค่อยเจอ" ซึ่ง Windows 7 ก็มีชะตากรรมไม่ต่างกันสักเท่าไร
control-panel-small-icon
หลายคนแก้ปัญหาโดยการปรับให้มันแสดงแบบไอคอน แต่หลังๆ นี่คงไม่ไหวแล้วมั้ง ตอนนี้ Control Panel ของ Windows 7 มีตัวเลือกเกือบ 50 อัน เรียงยังไงก็คงดูยาก
control-panel-search
ทางแก้คือ search มันเลยครับ เดี๋ยวนี้เขาพัฒนาแล้ว หาอะไรก็เจอ จากภาพจะเห็นว่าผลการค้นหาไม่ได้แสดงเฉพาะไอคอน แต่แสดงตัวเลือกที่อยู่ในไอคอนแต่ละอันของ Control Panel ให้ด้วย
ฟีเจอร์นี้คู่แข่งอย่าง Mac OS X ทำได้ใน 10.4 Tiger พร้อมกับฟีเจอร์ Spotlight ฝั่งวินโดวส์เริ่มทำได้ตอน Vista ตอนแรกยังไม่สมบูรณ์ทั้งคู่ (ค้นไม่ค่อยเจอ, ช้า) แต่ตอนนี้เข้าสู่สถานะที่ใช้งานได้จริงแล้ว
Control Panel ของ Windows 7 เพิ่มตัวเลือกใหม่ๆ ให้อีกหลายอัน เช่น Location and Other Sensors, Credential Manager, Biometric Devices ซึ่งผมคงไม่กล่าวถึงในรีวิวชุดนี้

วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2554

ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ที่ทําหน้าที่ ควบคุมการทํางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทําหน้าที่ เป็น ตัวกลางในการติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช์งานต่าง ๆ

ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า  OS (Operating System)  เป็นโปรแกรม ควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่ควบคุมการทำงานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ โดยทําหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับโปรแกรมต่าง ๆ 

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบต่างๆ 
การทํางานของคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทํางานด้วยตัวเองได้ แต่จะต้องอาศัยโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทํางานซึ่งเรียกว่า ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทั่วไปซอฟต์แวร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมสําเร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะมีหน้าที่ ในการจัดการและควบคุมการทํางานและอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดการเกี่ยวกับการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้ม การติดตั้งโปรแกรม นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการยังช่วยสร้างส่วนติดต่อ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ (User interface) ให้ง่ายต่อการใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยู่หลาย ระบบ ซึ่งมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แต่ที่สํ าคัญ ๆ มีดังนี้

1. ระบบปฏิบัติการ DOS (Disk Operating System) 
ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้เป็ระบบปฏิบัติการ
สําหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก Load หรืออ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วย
ความจําก่อน จากนั้น DOS จะไปทําหน้าที่เป็น ผู้ประสานงานต่าง ๆ ระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS จะรับคําสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นํ าไป
ปฏิบัติตาม โดยการทํางานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคําสั่งเข้าไปที่ซีพร็อม (C:\>)
ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจําคําสั่งต่าง ๆ ในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ ระบบปฏิบัติการ
DOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่เก่าแก่. และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก


2 .ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows 
Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้
(User interface) เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคําสั่ง เรียกว่า GUI (Graphic
User Interface) โดยสามารถสั่งให้เครื่องทํางานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คําสั่ง
ที่ต้องการ ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดียวกัน
ซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS หากต้องการเปลี่ยนไปทํางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรม
เดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทํางานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า หน้าต่างโดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ สลับ
ไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ สามารถ แชร์
ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอ์.ด (Clipboard) ระบบ Windows ทําให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถ
ทําความเข้าใจ เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น

3. ระบบปฏิบัติการ Unix 
              Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC แต๋อย่างใด แต่Unix เป็น
ระบบปฏิบัติการที่ใช็เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับ
ระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจากนี้ Unix ยังถูกออกแบบมาเพื่อ ตอบสนอง
การใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser
system) และสามารถทํางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลาย
ภารกิจ (Multitasking system)

4. ระบบปฏิบัติการ Linux 
              Linux เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ DOS, Windows หรือ Unix โดยLinuxนั้นจัด ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ Unix ประเภทหนึ่ง การที่Linuxเป็นที่กล่าวขานกันมากในช่วงปี 1999 – 2000
เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ การและโปรแกรมประยุกต์ที่ ทํ างานบนระบบ Linux
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) และสิ่งที่สําคัญที่สุดก็
คือ ระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ
โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกช่วยกันแก้ไข ทําให้การขยายตัวของ Linux
เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏิบัติการ หรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น
รุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2) ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทํางานแบบหลายซีพียู
หรือ SMP (Symmetrical Multi Processors) ซึ่งทําให้ระบบLinux สามารถนําไปใช้สําหรับทํางาน
เป็น Saver ขนาดใหญ่ได้ระบบ Linux ตั้งแต่รุ่น 4 นั้น สามารถทํางานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือ
บนซีพียูของ อินเทล (PC Intel) ดิจิทัลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer และซันสปาร์ค
(SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package Management) ถึงแม้ว่า
ขณะนี้ Linux ยังไม่สามารถแทนที่ Microsoft Windows บนพีซีหรือ Mac OS ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่
ก็มีผู้ใช้ จํานวนไม่น้อยที่สนใจมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน Linux และเรื่องของการ
ดูแล ระบบ Linux นั้น ก็มีเครื่องมือช่วยสําหรับดําเนินการให้สะดวกยิ่งขึ้น
…………………………………………………………

 การเลือกระบบปฏิบัติการให้กับคอมพิวเตอร์ (OS)
ครั้งก่อน ผมพูดถึงการเลือกซื้ออุปกรณ์เพื่อนำมาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ กันไปแล้ว..ครั้งนี้ผมจะพูดถึงวิธีการประกอบกันบ้าง..แต่เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องผมจะขอพูดถึงระบบปฏิบัติการ (OS) ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์กันก่อน..
ระบบปฏิบัติการ (OS) <-- มาจาก Operating System แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลัก ๆ คือ
1.Unix เป็น OS ที่ใช้สำหรับ เครื่อง Server เพราะเป็น OS ที่มีเสถียรถาพมากที่สุด ไม่เหมาะสำหรับผู้ใช้งานทั่ว ๆ ไปเพราะใช้ยากต้องมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ขั้นสูง และไม่สนับสนุนพวก Multimedia ต่าง ๆ ปัจจุบันมี OS ที่เป็น Unix ที่พัฒนามาให้ใช้งานง่ายเหมาะสมกับผู้ใช้ทั่ว ๆ ไปเพราะจะมีลักษณะ คล้ายกับ Windows ของ Microsoft เราเรียก OS ตัวนี้ว่า Linux เป็น OS ที่สามารถนำมาใช้ได้โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ เพราะเป็น OS ที่แจก Source code เพื่อนำไปพัฒนา ก็มีอยู่หลาย ๆ ค่ายที่นำ Linux ไปพัฒนา แต่ที่ได้รับความนิยมก็คือ Redhat Linux เพราะการใช้งานง่ายคล้าย Windows สำหรับที่เป็นภาษาไทย ตอนนี้ เนคเทค ได้พัฒนาจนสามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ..สำหรับใครที่อยากทดลองใช้ก็สามารถ down load ได้จาก http://www.nectec.or.th
2. Apple OS เป็น OS ที่ใช้สำหรับเครื่อง Max เหมาะสำหรับผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับการออกแบบ Graffic design อะไรทำนองนั้นไม่เหมาะสำหรับ User อย่างเรา ๆ หรอกครับ..
3. Windows เป็น OS ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดถึงประมาณ 90 % ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลก เพราะมีลักษณะการใช้งานที่ง่าย ไม่ต้องมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์มากนัก สนับสนุน Multimedia อย่างสมบูรณ์ ไม่ว่าจะดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ฯลฯ Windows ในปัจจุบันมีให้เลือกใช้งานหลาย version ด้วยกัน ทั้งที่ให้เป็น Server และ Home use ทั่ว ๆ ดังนี้
>>Home use
1) Windows 3.11 เป็น OS แบบ 16 bit เป็น version แรกของ Windows ที่ใช้ทรัพยากรของระบบน้อยมาก แต่ประสิทธิภาพต่าง ๆ ที่สนับสนุนก็น้อยตามไปด้วย..
2) Windows 95 เป็น OS แบบ 32 bit พัฒนาขีดความสามารถขึ้นมาจากเดิม มีฟีเวอร์ต่าง ๆ เพิ่มเข้ามา แต่ version นี้ยังมี bug มากไม่ค่อยเสถียรพอ..
3) Windows 98 เป็น OS แบบ 32 bit ที่พัฒนามาจาก 95 แก้ไข bug ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้งสนับสนุน Multimedia อย่างสมบูรณ์ มีการนำเอา browser ยอดนิยมอย่าง IE ติดมาให้ด้วย version นี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก..
4) Windows 98 SE เป็น OS แบบ 32 bit ที่แก้ไข version 98 ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น แก้ไข bug และเพิ่มฟีเวอร์ใหม่ ๆ มากมายเช่นสามารถทำเป็น Server แชร์ IP ให้กับเครื่องลูกได้ และนำเอา IE 5 ติดมาด้วย นับว่า version นี้เป็น version ที่ดีที่สุด สมบูรณ์ที่สุด และเสถียรภาพมากที่สุดแล้ว ในตระกูลของ Windows 98
5) Windows Me เป็น OS แบบ 32 bit ที่พัฒนามาสำหรับ Home use โดยเฉพาะ ตัดเอา Ms-Dos ออกไปเพื่อสร้างความมีเสถียรภาพให้กับระบบ สนับสนุน Multimedia สมบูรณ์แบบที่สุด..ตอนนี้ผมเองก็ลองใช้อยู่ครับ..ยอมรับว่าดีมาก ๆ ไม่ค่อยมีปัญหาเหมือน 98 ที่ผ่านมาครับ..
>>Server
1) Windows NT4 มีความเสถียรถาพสูงทำงาน เป็น Srever การใช้งานผู้ใช้ต้องมีความรู้พอสมควรเพราะลักษณะการใช้งานคล้ายกับ Unix แต่จะมีระบบ Graffic ที่ดีกว่า..
2) Windows 2000 เป็น OS ที่เป็น NT พัฒนามาจาก NT4 มีความเสถียรภาพสูง และรองรับ Multimedia ใช้เป็น Server สนับสนุนการใช้งานแบบ Multi user มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีเยี่ยม..มี 2 version ให้เลือกใช้งานตามความเหมาะสม..
" พูดถึง Windows ผมก็อยากที่จะให้ทุก ๆ ท่านมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ Windows 98 กับ Windows 2000 ว่าจริง ๆ แล้วลักษณะการใช้งานแตกต่างกัน ดังที่ผมได้พูดไว้แล้ว..บางท่านยังเข้าใจผิดว่า Windows 2000 เป็น version ใหม่ล่าสุดที่มาแทนที่ Windows 98 SE เวลาจะซื้อเครื่องก็มักจะถามว่า เป็น Windows 2000 หรือเปล่า..อะไรทำนองนี้ ผมก็อยากให้ท่านทำความเข้าใจให้ถูกต้องด้วยนะครับ..ตอนนี้ที่เหมาะสำหรับ User ทั่ว ๆ ไป ก็คือ Windows 98 SE ครับ..ดีที่สุดแล้ว.."
………………………………………………………………………………………….

ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ นี่นะครับ ก็หมายถึง ชุดของโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ครับ จะมีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ประยุกต์ครับ ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการนะครับ ก็ได้แก่ MS - DOS , UNIX , LINUX , Windows Me , Windows XP เหล่านี้เป็นต้นครับ ระบบปฏิบัติการนี้นะครับจะทำงานอยู่เบื้องหลังของผู้ใช้ครับ โดยระบบปฏิบัติการนี้ก็มีหน้าที่หลักๆ ดังนี้ครับ  
อันแรกนี้ก็คือการจัดส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ ครับ เช่น หน่วยประมวลผลกลาง ที่เก็บข้อมูลสำรอง หน่วยความจำ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้นครับ
อันที่สองนี้นะครับก็คือจัดการในส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ครับ
และในข้อนี้ก็ไดแก่ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่นครับ เช่น และการแสดงผล เป็นต้น โดยปกติแล้วโปรแกรมประยุกต์จะต้องทำงานผ่านระบบปฏิบัติการครับ
ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานในปัจจุบันนี้นะครับ จะเป็นระบบปฏิบัติการวินโดว์ครับ เพราะสามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วด้วยครับ ถึงแม้คนที่ไม่ความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์เลย ก็สามารถใช้งานระบบปฏิบัติการวินโดว์ได้ แต่ในที่นี้นะครับผมจะขอกล่าวถึง ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในอดีตและในปัจจุบันนะครับแต่ในที่นี่ผมจะขอกล่าวถึง เพียงสองอย่างนะครับ ซึ่งได้แก่ MS – DOS และก็ Microsoft Windows สองอย่างนี้นะครับ
ในข้อหนึ่งนี้นะครับผมจะกล่าวถึง ระบบปฏิบัติการ MS – DOS ครับ ซึ่ง เมื่อผู้ใช้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการก็จะถูกเรียกจากฮาร์ดดิสก์มาไว้ใน หน่วยความจำของเครื่องนะครับเพื่อเตรียมที่จะใช้งานได้ทันที ที่ต้องการนะครับ ซึ่งขั้นตอนที่ย้ายระบบปฏิบัติการเข้าสู่หน่วยความจำของเครื่องนั้นเรียกว่า การบูตระบบ ครับ ซึ่งเมื่อเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้น โปรแกรมเล็ก ๆ ที่อยู่ใน หน่วยความจำรอม จะเรียกเอาส่วนประกอบพื้นฐานที่จำเป็นของระบบปฏิบัติการจากฮาร์ดดิสก์เข้ามาไว้ในหน่วยความจำหลักนะครับ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์บนจอภาพเป็น C > หรือ C:\ > นี่นะครับ โดยที่หมายถึงดิสก์ไดรฟ์ที่ทำงานอยู่ และเครื่องหมาย > หมายถึงการเตรียมพร้อมที่จะทำงานจากนั้น ผู้ใช้ก็จะสามารถพิมพ์คำสั่งของ MS – DOS ได้ทันทีครับเพื่อใช้งานคอมพิวเตอร์
ส่วนในข้อนี้นะครับผมจะกล่าวถึง ระบบปฏิบัติการวินโดว์ ครับ ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันนี้ครับ ผมจะกล่าวรายละเอียดเลยนะครับ คือ ไมโครซอฟต์วินโดว์นี่นะครับหรือที่นิยมเรียกกันว่า วินโดว์ นั่นแหละครับ ซึ่งมีระบบการติดต่อกับผู้ใช้เป็นแบบกราฟิกที่มีสีสันสวยงามมากครับและสามารถใช้ได้ง่าย ซึ่งผู้ใช้บนระบบวินโดว์นี้นะครับก็จะทำงานกับ เมนู และรูปภาพที่เรียกว่า ไอคอน แทนที่จะเป็นการพิมพ์คำสั่งต่าง ๆ ลงไปครับ ระบบปฏิบัติการวินโดว์ที่ใช้ในปัจจุบันนะครับก็ได้มีการพัฒนากันมาอย่างต่อเนื่องนะครับ ซึ่งก็ได้มีสีสันที่สวยงามมากขึ้นกว่าเดิม และสามารถใช้งานได้ง่ายยิ่งขึ้นกว่าระบบปฏิบัติการวินโดว์ในรุ่นก่อนๆ นะครับ ถึงแม้ว่าวินโดว์จะเป็นระบบที่ทำงานด้วยกราฟิกที่มีสีสันสวยงานแต่การทำงาน ของวินโดว์นี้นะครับก็ยังทำงานภายใต้การทำงานของดอสครับ เพียงแต่ระบบวินโดว์นี้เราจะไม่จำเป็นต้องรู้คำสั่งของดอสเท่านั้นเอง เพราะเราใช้งานคำสั่งสำเร็จรูปด้วยเมนูบนวินโดว์ ครับ  
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการนี่ นะครับ คือระบบปฏิบัติการสำหรับจัดการงานด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์นะครับ และช่วยให้คอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่กับเครือข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกันได้ครับ อย่างเช่น ใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน เป็นต้น ระบบปฏิบัติการเครือข่ายนี่นะครับจะมีคุณสมบัติในการจัดการเกี่ยวกับเครือข่ายและ การใช้งานอุปกรณ์ร่วมกันนะครับ รวมทั้งยังมีระบบการป้องกันการสูญหายของข้อมูลอีกด้วยครับ
ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่นิยมใช้ปัจจุบันนี้นะครับจะใช้หลักการประมวลผลแบบ ไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์ นะครับ โดยส่วนประกอบสำหรับการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลและการจัดการโปรแกรมนั้นะครับจะทำงานอยู่บน เครื่องเซิร์ฟเวอร์ครับในขณะที่ส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบปฏิบัติการเครือข่ายนี้นะครับจะอยู่บนเครื่องไคลเอนต์ครับ เช่น การติดต่อกับผู้ใช้ นะครับเหล่านี้เป็นต้น การจัดการให้ผู้ใช้เห็นว่างานและอุปกรณ์ทั้งหลายที่ใช้นั้นเสมือนอยู่บนเครื่องไคลเอนต์เองนะครับ ก็ถือว่าเป็นหน้าที่หลักอันหนึ่งของระบบปฏิบัติการเครือข่ายด้วยนะครับ
ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่นี้นะครับอย่างเช่นเครื่องระดับเมนเฟรมนี่นะครับ ได้ถูกนำมาใช้ในด้านธุรกิจและการศึกษานะครับ ซึ่งจะมีผู้ใช้งานพร้อมๆ กันจำนวนมากนะครับ ทำให้ระบบปฏิบัติการของเครื่องระดับนี้มีการทำงานที่ซับซ้อนมาก โดยต้องทำการดูแลสั่งงานโปรแกรมพร้อมๆ กันจำนวนหลายๆ โปรแกรมนะครับ ดูแลในการเข้าใช้งานเครื่องของผู้ใช้จำนวนหลายๆ คนนะครับ ดูแลจัดลำดับและแบ่งปันทรัพยากรให้กับผู้ใช้ ตลอดจนการรักษาความเป็นส่วนตัวและความลับของผู้ใช้แต่ละคนอีกด้วยนะครับ
ระบบปฏิบัติการแบบเปิด

วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

การติดตั้งวินโดวส์ 7

1. คลิก Start -> คลิกขวาที่ชอร์ตคัท Computer แล้วเลือก Properties

2. ที่หัวข้อ Windows Activation คลิกลิงค์ดังรูป


3. สำหรับขั้นตอนการลงทะเบียนนี้จะเป็นการลงทะเบียนทางโทรศัพท์ สำหรับเครื่องของท่านที่ไม่มีหรือไม่ได้ต่ออินเตอร์เน็ต โดยคลิก Show me other ways to activate


และคลิก Use the automated phone system


4. เลือกประเภทที่เราอยู่ เพื่อขอเบอร์โทรศัพท์ที่ใช้ในการติดต่อสำหรับลงทะเบียนวินโดวส์ใน Step ที่ 1 โดยเราสามารถใช้เบอร์ติดต่อฟรีแบบไม่ต้องเสียเงินได้ โดยเลือกหมายเลขโทรศัพท์ Toll-free


5. แล้วทำตามขั้นตอนที่ Operator ของไมโครซอฟต์แนะนำใน Step ที่ 2 โดยการป้อนคีย์ตัวเลขทั้งหมด 9 ชุด


6. ทาง Operator ของไมโครซอฟต์จะบอกให้เราใส่ตัวเลขทีละชุด ทั้งหมด 8 ชุดมาใส่ใน Step ที่ 3 อีกครั้ง เสร็จแล้วคลิก Next


ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย


หลังจากนี้วินโดวส์แท้ของเราก็จะใช้งานได้ตลอดไปแล้วครับผม

การสร้างโฟลเดอร์

 การสร้างโฟลเดอร์ใหม่
 

1. คลิกเมาส์ขวาที่พื้นที่ว่างบนเดสก์ทอป
2. เลื่อนเมาส์ไปที่ New
3. คลิก Folder  จะเห็นโฟลเดอร์ใหม่พร้อมชื่อโฟลเดอร์ที่ตั้งมาให้ (New Folder)
4. พิมพ์ชื่อโฟลเดอร์ใหม่
5. กดปุ่ม Enter
 train01b.gif
 การเปลี่ยนชื่อไฟล์
1. คลืกที่ชื่อไฟล์ หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ
2. กดปุ่ม F2 (หรือคลิกขวาที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ เลือกคำสั่ง Rename จากนั้นพิมพ์ชื่อใหม่ที่ต้องการ)
3. พิมพ์ชื่อไหล์ หรือโฟลเดอร์ใหม่
 train01b.gif
 การลบไฟล์ / โฟลเดดอร์
1. คลิกที่ชื่อไฟล์/โฟลเดอร์ ที่ต้องการลบ
2. กดปุ่ม Delete
3. กดปุ่ม Yes เพื่อยื่นยันการลบไฟล์
 train01b.gif
  การจัดเรียงไอคอน
1. คลิกเมาส์ขวาบนพื้นที่ว่างของเดสก์ทอป
2. เลือนเมาส์ไปที่ Arrange Icons
3. คลิกเลือกวิธีการจัดเรียงไอคอน
        by Name - เรียงตามชื่อ
        by Type         - ชนิดของไฟล์
        by Size         - ขนาดของไฟล์
        by Date         - วันที่จัดเก็บไฟล์
        Auto Arrange    - จัดเรียงแบบอัตโนมิติ